เนื้อหาที่เรียน
สาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ กำหนดมาตรที่เด็กต้องรู้
สาระที่1.จำนวนและการดำเนินการ
-จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ *จำนวนหรือปริมาณของสิ่งของ
-จำนวนนับ เพิ่มที่ละหนึ่ง มีอยู่ 1 เพิ่ม 1 เป็น 2 ...
- 0 ไม่ใช่จำนวนนับ
-ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน ได้จากการเขียน โดยที่ครูเขียนให้ดูก่อนและให้เด็กเขียนเอง หรือจากการหยิบจับ
สาระที่1.จำนวนและการดำเนินการ
-จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ *จำนวนหรือปริมาณของสิ่งของ
-จำนวนนับ เพิ่มที่ละหนึ่ง มีอยู่ 1 เพิ่ม 1 เป็น 2 ...
- 0 ไม่ใช่จำนวนนับ
-ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน ได้จากการเขียน โดยที่ครูเขียนให้ดูก่อนและให้เด็กเขียนเอง หรือจากการหยิบจับ
-เลขโดด ในระบบฐาน มี 10 ตัว 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 *ตัวเลขฮินดูอารบิก ไม่ใช่ เลขอารบิก และยังมีตัวเลขไทย
-จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน จะมีเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อยกว่ากัน อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว *ขั้นอนุรักษ์ให้เด็กได้ใช้เหตุผล
-การเรียงลำดับมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก
-การบอกอันดับสิ่งของ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ
-การรวมตัวเป็นการนับรวมสิ่งต่างๆขึ้นไป
-การแยกเอาสิ่งของออกจากกลุ่มใหญ่แล้วบอกจำนวนที่เหลือ
สาระที่2.การวัด หาค่า หาจำนวน ต้องใช้เครื่องมือในการหาค่าทั้งที่เป็นทางการ กึ่งทางการ และไม่เป็นทางการ ยาว สั้น / สูง เตี้ย มาเปรียบเทียบเพื่อนเรียงลำดับ
สาระที่3.เรขาคณิต
-ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหน้า ข้างหลัง ระหว่าง ใกล้ ไกล เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทางของสิ่งต่างๆ
-การจำแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก และรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ใช้วิธีพิจารณารูปร่างและขอบของรูป
สาระที่4.พีชคณิต แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกต หรือการสอบถาม
-แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย โดยใช้รูปภาพแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆอาจวางรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้
สาระที่6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การแก่ปัญหา การใช้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้สิ่งต่างๆทางคณิตศาสตร์ และเริ่มมีความคิดสร้างสรรค์
-จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน จะมีเท่ากัน มากกว่ากัน หรือน้อยกว่ากัน อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว *ขั้นอนุรักษ์ให้เด็กได้ใช้เหตุผล
-การเรียงลำดับมากไปน้อย หรือน้อยไปมาก
-การบอกอันดับสิ่งของ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ
-การรวมตัวเป็นการนับรวมสิ่งต่างๆขึ้นไป
-การแยกเอาสิ่งของออกจากกลุ่มใหญ่แล้วบอกจำนวนที่เหลือ
สาระที่2.การวัด หาค่า หาจำนวน ต้องใช้เครื่องมือในการหาค่าทั้งที่เป็นทางการ กึ่งทางการ และไม่เป็นทางการ ยาว สั้น / สูง เตี้ย มาเปรียบเทียบเพื่อนเรียงลำดับ
สาระที่3.เรขาคณิต
-ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหน้า ข้างหลัง ระหว่าง ใกล้ ไกล เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทางของสิ่งต่างๆ
-การจำแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก และรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ใช้วิธีพิจารณารูปร่างและขอบของรูป
สาระที่4.พีชคณิต แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกต หรือการสอบถาม
-แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย โดยใช้รูปภาพแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆอาจวางรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้
สาระที่6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การแก่ปัญหา การใช้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้สิ่งต่างๆทางคณิตศาสตร์ และเริ่มมีความคิดสร้างสรรค์
หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้งานไว้ทำในห้อง คือหากิจกรรมที่สอดคล้องกับสาระ 6 สาระ
บรรยากาศในห้องเรียน
นั่งทำงานที่อาจารย์มอบหมายกันอย่างเต็มที่
ประเมินวิธีการสอน
อาจารย์ติดภารกิจแต่ก็คอยเดินมาดูไม่ละทิ้งนักศึกษา และอธิบายเพิ่มเติมหากไม่เข้าใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น