ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสาน
ปริญญานิพนธ์ของ วันดี มั่นจงดี
หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กันยายน ปี 2554
จุดประสงค์ของวิจัย เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการสาน
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนหญิง - ชาย ชั้นอนุบาลปีที่ 1 อายุ 4-5 ปี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวักนิมานรดี จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดกิจกรรมการสาน
ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ มี 4 ด้าน
1.สังเกต เปรียบเทียบ
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดกิจกรรมการสาน
ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ มี 4 ด้าน
1.สังเกต เปรียบเทียบ
2.การจัดหมวดหมู่
3.การเรียงลำดับ
4.การรู้ค่าจำนวน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1.แผนการจัดกิจกรรมการสาน
2.แผนทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ผลการวิจัยพบว่า
1.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการสานสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรมการสาน
2.เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับพอใช้ หลังการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับดี
เว็บไซต์ :: http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Wandee_M.pdf
1.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการสานสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรมการสาน
2.เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับพอใช้ หลังการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับดี
ตัวอย่างแบบทดสอบ
คู่มือแผนการสอน และตัวอย่างของแผนการสอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น